ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) (http://www.learners.in.th/) เข้าถึง เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554ได้กล่าวไว้ว่า นักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทำต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า(stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ พฤติกรรม มากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้ ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่นี้ ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวด้วยกัน คือ - ทฤษฎีการเชื่อมโยง(Classical Connectionism) ของธอร์นไดค์(Thorndike)มีความเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจาการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด
- ทฤษฎีการวางเงื่อนไข(Conditioning Theory) ประกอบด้วยทฤษฏีย่อย 4 ทฤษฏี ดังนี้
1) ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟ (Pavlov’s Classical Conditioning) เน้นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข สรุปแนวคิดตามทฤษฏีนี้ได้ว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
2) ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของวัตสัน(Watson’s Classical Conditioning) เน้นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเช่นกัน
3) ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของกัทธรี(Guthrie’s Contiguous Conditioning) เน้นหลักการจูงใจ
4) ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ของสกินเนอร์(Skinner’s Operant Conditioning) เน้นการเสริมแรงหรือให้รางวัล
- ทฤษฏีการเรียนรู้ของฮัลล์(Hull’s Systematic Behavior Theory) มีความเชื่อว่าถ้าร่างกายเมื่อยล้า การเรียนรู้จะลดลง การตอบสนองต่อการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดเมื่อได้รับแรงเสริมในเวลาใกล้บรรลุเป้าหมาย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) ) ( http://www.niteslink.net/web/)เข้าถึงเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554ได้กล่าวไว้ว่า นักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทำต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า(stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ ”พฤติกรรม” มากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ) (http://dontong52.blogspot.com) เข้าถึงเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554 ได้กล่าวไว้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มองธรรมชาติ ของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี ไม่เลว การกระทำต่าง ๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองประกอบด้วย
1 ทฤษฎีการเชื่อมโยงของ ธอร์นไดค์ (Thorndike’s Classical Connectionism)
ธอร์นไดค์ (ค.ศ. 1814-1949) เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กฎของธอร์นไดค์ สรุปได้ ดังนี้
1) กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
2) กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
3) กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
4) กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)
2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ ของพาฟลอฟ
พาฟลอฟ ได้ทำการทดลอง ได้ทำการทดลองให้สุนัขน้ำลายไหลด้วยเสียงกระดิ่ง การทดลองของพาฟลอฟสรุปเป็นการเรียนรู้ได้ ดังนี้
1) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
2) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
3) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้าจนลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงหากได้รับการสนองตามธรรมชาติ
4) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ต่อสิ่งเร้าหยุดลงเมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ จะกลับปรากฏได้อีกโดยไม่ ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
5) มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งเร้าที่มีลักษณะคล้าย ๆ กัน จะตอบสนองเหมือน ๆ กัน
6) บุคคลมีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกันและเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
7) กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction)
8) กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of Spontaneous Recovery)
9) กฎแห่งการถ่ายโยงการเรียนรู้สู่สถานการณ์อื่น ๆ (Law of Generalization)
10) กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง (Law of Discrimination)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
1) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
2) เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใด ๆ ได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning) ของกัทธรี
1) กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Contiguity)
2) การเรียนรู้เกิดขึ้นขึ้นได้แม้เพียงครั้งเดียว (One trial learning)
3) กฎของการกระทำครั้งสุดท้าย (Law of Recency)
4) หลักการจูงใจ (Motivation)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Conditioning) ของสกินเนอร์
1) การกระทำใด ๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรง แนวโน้มที่ความถี่ของการกระทำนั้นจะลดลง
2) การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงตายตัว
3) การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4) การให้เสริมแรงหรือให้รางวัลเมื่ออินทรีย์กระทำพฤติกรรมที่ต้องการ สามารถช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
1 ทฤษฎีการเชื่อมโยงของ ธอร์นไดค์ (Thorndike’s Classical Connectionism)
ธอร์นไดค์ (ค.ศ. 1814-1949) เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กฎของธอร์นไดค์ สรุปได้ ดังนี้
1) กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
2) กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
3) กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
4) กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)
2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ ของพาฟลอฟ
พาฟลอฟ ได้ทำการทดลอง ได้ทำการทดลองให้สุนัขน้ำลายไหลด้วยเสียงกระดิ่ง การทดลองของพาฟลอฟสรุปเป็นการเรียนรู้ได้ ดังนี้
1) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
2) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
3) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้าจนลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงหากได้รับการสนองตามธรรมชาติ
4) พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ต่อสิ่งเร้าหยุดลงเมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ จะกลับปรากฏได้อีกโดยไม่ ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
5) มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งเร้าที่มีลักษณะคล้าย ๆ กัน จะตอบสนองเหมือน ๆ กัน
6) บุคคลมีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกันและเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
7) กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction)
8) กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of Spontaneous Recovery)
9) กฎแห่งการถ่ายโยงการเรียนรู้สู่สถานการณ์อื่น ๆ (Law of Generalization)
10) กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง (Law of Discrimination)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
1) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
2) เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใด ๆ ได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning) ของกัทธรี
1) กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Contiguity)
2) การเรียนรู้เกิดขึ้นขึ้นได้แม้เพียงครั้งเดียว (One trial learning)
3) กฎของการกระทำครั้งสุดท้าย (Law of Recency)
4) หลักการจูงใจ (Motivation)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Conditioning) ของสกินเนอร์
1) การกระทำใด ๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรง แนวโน้มที่ความถี่ของการกระทำนั้นจะลดลง
2) การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงตายตัว
3) การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4) การให้เสริมแรงหรือให้รางวัลเมื่ออินทรีย์กระทำพฤติกรรมที่ต้องการ สามารถช่วยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
3 ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’ s Systematic Behavior)
1) กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive inhibition)
2) กฎแห่งการลำดับกลุ่มนิสัย (Law of Habit Hierachy)
3) กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย (Goal Gradient Hypothesis)
1) กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive inhibition)
2) กฎแห่งการลำดับกลุ่มนิสัย (Law of Habit Hierachy)
3) กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย (Goal Gradient Hypothesis)
สรุป
ธรรมชาติของมนุษย์มีลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทำต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า(stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ พฤติกรรม มากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้ ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่นี้ ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวด้วยกัน คือ - ทฤษฎีการเชื่อมโยง(Classical Connectionism) ของธอร์นไดค์(Thorndike)มีความเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจาการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด
อ้างอิง
(http://www.learners.in.th/)
( http://www.niteslink.net/web/)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น